เมื่อวันที่ 15 กรกฏาคม 2566 เพจ ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยโพสต์ข้อความระบุว่า #ภารกิจผู้พิทักษ์...อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่ ลาดตระเวนพบ "อึ่งกรายข้างแถบ" อึ่งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นอึ่งหน้าตาแปลกเมื่อถูกรุกล้ำถิ่นจะมีพฤติกรรมก้าวร้าว และส่งเสียงคล้ายลมยางรั่วเป็นจังหวะ
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เจ้าหน้าที่ชุดลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (Smart Patrol) ชุดลาดตระเวนชุดที่2 (ทุ่งคาโงก) อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่ ลาดตระเวนพบ "อึ่งกรายข้างแถบ" หรืออึ่งกรายตาหนาม, กบตาหนาม, กบอ้าก, เด๊ะกั่ว Burmese Horned Frog Megophrys carinense (Boulenger,1889) พบที่ระดับความสูงประมาณ 600-700 เมตร จากระดับน้ำทะเล (ข้อมูลเพิ่มเติมใต้รูปภาพ)
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ขอบคุณ ประชาสัมพันธ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช